วันอังคารที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2553

Week 7 : M-Commerce


M-Commerce
M-commerce คือ การซื้อขาย สินค้าและบริการ ผ่านอุปกรณ์สื่อสาร เช่น โทรศัพท์มือถือ หรือ PDAs

Value added attributes that drive development of M-commerce
  • Ubiquity
  •  Convenience
  •  Instant Connectivity
  •  Personalization
  •  Localization of products & services
Drivers of mobile computing & M-commerce
  • Widespread availability of mobile devices
  •  No need for a pc
  • Handset culture
  • Declining prices, increased functionalities
  • Improvement of bandwidth เช่น 3G 3.5G
  • Centrino chip
  • Availability of Internet access in automobile
  • Networks 3G 4G และการพัฒนา Wi-Fi มากขึ้น
  • The service economy
  • Vendor’s push
  • The mobile workforce
Mobile Computing Infrastructure
  • WAP (Wireless Application Protocol)
  •  Markup languages: WML, XHTML
  •  Mobile development: .NET compact, Java ME, Python
  •   Mobile Emulators 
  • Microbrowsers: Android, Safari, IE mobile, Firefox mobile
  •        HTML5
· 
M-Commerce Business Models 
  • Usage fee model
  •  Shopping Business Models
  •  Marketing business Models
  •  Improved Efficiency Models
  • Advertising Business Models
  • Revenue-Sharing Business Models

Mobile Enterprise Applications
  • Supporting salespeople during customer visits
  • Supporting field employees during repair
  • Supporting traveling of employees
  • Supporting employees working within the organization
  • Supporting employees driving trucks

Technical and other limitations of mobile computing
  • Insufficient bandwidth
  • Security standards
  • Power Consumption
  • Transmission Interferences
  • GPS Accuracy
  • Potential Health Hazards
  • Human Interface with Device
  • Small Screens
  • Reduced memory
  • Limited Bandwidth
  • Restricted input capabilities
  • Cost – it’s readily available; why pay for it?
  • Trust
************
Present 

1.       1.   Mobile robot
หุ่นยนต์ หรือ โรบอต (robot) คือ เครื่องจักรกลชนิดหนึ่ง มีลักษณะโครงสร้างและรูปร่างแตกต่างกัน หุ่นยนต์ในแต่ละประเภทจะมีหน้าที่การทำงานในด้านต่าง ๆ ตามการควบคุมโดยตรงของมนุษย์
ประเภทของหุ่นยนต์
1.       การแบ่งประเภทตามการเคลื่อนที่ได้
·        หุ่นยนต์ที่ติดตั้งอยู่กับที่ ไม่สามารถเคลื่อนที่ได้ (fixed robot)

·        หุ่นยนต์ที่สามารถเคลื่อนไหวและเคลื่อนที่ได้ (Mobile robot)

2.       การแบ่งประเภทตามลักษณะรูปร่างภายนอก
·        หุ่นยนต์ฮิวแมนนอยด์ (Humanoid Robot) เป็นลักษณหุ่นยนต์ที่เหมือนกับมนุษย์
·        แอนดรอยด์ (Android)
·        จีนอยด์ (Gynoid) เป็นการเรียกหุ่นยนต์คล้ายมนุษย์เพศหญิง
·        แอ็คทรอยด์ (Actriod) เป็นหุ่นยนต์ที่เลียนแบบพฤติกรรมมนุษย์ เช่น กระพริบตา หายใจ เริ่มพัฒนาโดย มหาวิทยาลัยโอซาก้าและบริษัทโคโคโระ
·        ไซบอร์ก (Cyborg) เป็นหุ่นยนต์ที่เชื่อมต่อกับสิ่งมีชีวิต หรือ ครื่งคนครึ่งหุ่น เริ่มปรากฏครั้งแรกในเรื่องแต่งปี 1960
·        นาโนโรบอท (Nanorobot) เป็นหุ่นยนต์ขนาดเล็กมาก ขนาดประมาณ 0.5-3 ไมครอน

ประโยชน์และความสามารถของหุ่นยนต์

·        ความสามารถในด้านการแพทย์

·        ความสามารถในงานวิจัย

·        ความสามารถในงานอุตสาหกรรม

·        ความสามารถในด้านความมั่นคง 

·        ความสามารถในด้านบันเทิง


 2. โลกเสมือนจริง (Virtual World)
โลกเสมือน (Virtual World) คือ การจำลองสภาพแวดล้อม ที่สามารถตอบสนองต่อการใช้งานของผู้ใช้หลายคน พร้อมๆ กัน ผ่านเครือข่ายออนไลน์ นั่นหมายความว่า โลกเสมือนจะต้องรองรับ การใช้งานของผู้ใช้ได้ตลอดเวลา (24 ชั่วโมงต่อวัน)
นอกจากรูปแบบของโลกเสมือนแล้ว  ยังมีรูปแบบอื่นๆ ที่คล้ายคลึงกันกับโลกเสมือน  ได้แก่
·        เครือข่ายสังคมออนไลน์ (Social Networking Website)
·        ร้านค้าเสมือนจริง (Virtual Shopping)
·        การท่องเที่ยวเสมือนจริง (Virtual Tour)
3.  E-book reader
E-Book Reader หรือ E-Reader คือ อุปกรณ์ที่ใช้อ่านหนังสืออิเลคทรอนิคส์หรือ E-Book ที่ถูกออกแบบมาให้ใช้งานง่าย สะดวกในการพกพา และสามารถอ่านได้ทุกที่ แทนที่หนังสือกระดาษที่มีอยู่ในปัจจุบัน โดยมีการปรับปรุงหรือเปลี่ยนแปลงข้อมูลจากหนังสือต่างๆ ให้อยู่รูปของตัวอักษร ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง ลักษณะที่ตอบโต้กันได้ (Interactive) และ การเชื่อมโยงแบบไฮเปอร์เท็กซ์ สามารถทำบุ๊คมาร์กและหมายเหตุประกอบตามที่ผู้ใช้ต้องการได้ โดยอาศัยพื้นฐานของหนังสือเล่มเป็นหลัก โครงสร้าง E-Book Reader จะประกอบด้วยหน้าปกหน้า-หลัง สารบัญ เนื้อหาภายในเล่ม และดัชนี แต่ E-Book จะ แตกต่างจากหนังสือเล่มในการพลิกหน้า โดยที่ไม่ได้มีการพลิกหน้าจริง แต่เป็นไปในลักษณะของการซ้อนทับกัน และยังสามารถกระโดดข้ามไปยังหน้าที่ผู้อ่านต้องการได้อีกด้วย

By สุทธิดา พวงพิกุล 5202113246

วันจันทร์ที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2553

Week 6 AI 613

E-Business and E-Commerce
E-Business VS E-Commerce คนส่วนใหญ่มักคิดและเข้าใจว่า E-Businessและ E-Commerce เป็นสิ่งเดียวกันซึ่งไม่ถูกต้อง ทีเดียวนัก เนื่องจาก
E-Business เป็นการเปลี่ยนรูปแบบการทำธุรกิจ ซึ่งผู้บริหารต้องจับตามองและให้ความสนใจ เพราะE-Business เป็นกระบวนการดำเนินการทางธุรกิจผ่านระบบเครือข่าย ซึ่งรวมระบบการจัดการต่างๆ เช่น กระบวนการผลิต การตลาด การจัดจำหน่ายและยังรวมถึงการบริหารงานด้วย ดังนั้น E-Business จึงเป็นมากกว่าการซื้อขายบนเครือข่ายแต่เป็นการเปลี่ยนแปลงกระบวนการต่างๆ ในการดำเนินธุรกิจที่เคยเป็นมาในอดีต
ในขณะที่ E-Commerce เป็นกระบวนการการทำธุรกรรมผ่านเครือข่าย เช่น การซื้อขาย การแลกเปลี่ยนข้อมูล การถ่ายโอนเงิน ดังนั้น E-Commerce จึงนับว่าเป็นเพียงส่วนหนึ่งของ E-Business เท่านั้น
รูปแบบของ E-Business แบ่งออกเป็น 3 ระดับดังนี้
 1. Business-to-Business (B2B)
               2. Business-to-Consumer (B2C)
              3. Consumer-to-Consumer (C2C)

             ตัวอย่างธุรกิจที่ดำเนินธุรกิจผ่านพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
·        Dell
·        Amazon
·        Ebay
E-Business แบบอื่น เช่น Facebook, powerstudents.com
ประโยชน์ของ E-Commerce
1  สามารถเปิดดำเนินการได้ 24 ชั่วโมง
2  ตัดปัญหาการต่อรองราคา หรือปัญหาเรื่องนายหน้า
3  ลดค่าใช้จ่ายในการติดต่อสื่อสาร
4  ผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดย่อมมีโอกาสมากขึ้น
5  โอกาสทางธุรกิจเท่าเทียมกัน
6  การประชาสัมพันธ์ทำได้ง่ายขึ้น

ข้อจำกัดของ E-commerce
1  ความไม่ปลอดภัยของข้อมูล
2  ความเสี่ยงในการชำระเงินทางอินเทอร์เน็ต
3  ขาดความรู้ด้านกฎหมายการทำธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์
4  ขาดความรู้เรื่องการใช้อินเทอร์เน็ต
Social Commerce คือ การที่คนจะซื้อของ ส่วนใหญ่แล้ว จะไปหาข้อมูล เช่น หาข้อมูลทางออนไลน์

Electronic Retailing (การค้าปลีกอิเลกทรอนิกส์) หมายถึงการขายสินค้าและการบริการให้กับผู้บริโภคผ่านทางสื่ออิเลกทรอนิกส์โดยตรง โดยไม่ต้องผ่านคนกลางหรือตลาดกลางอิเลกทรอนิกส์ (E-Marketplace)  ซึ่งแบ่งได้เป็น 2 ชนิด ได้แก่
·        Electronic Storefront หมายถึงเว็บไซต์ร้านค้าเสมือน สำหรับเสนอขายสินค้าและบริการภายในเว็บไซต์ตนเองโดยไม่ต้องผ่านคนกลางหรือตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์ (E-Marketplace)
o   General Storefront
o   Specialize Storefront
·        Electronic Mall ร้านสรรพสินค้าเสมือน(Cybermall) เป็นเว็บไซต์กลางที่รวบรวมเว็บไซต์ต่างๆเข้าไว้ด้วยกัน เช่น www.ebay.com

เหตุผลหลักของลูกค้าที่ใช้บริการของการร้านค้าปลีกออนไลน์
·        หลีกเลี่ยงการ Shopping สำหรับผู้ที่ไม่ชอบเดิน Shopping
·        ผู้ที่มีความจำเป็น หรือ มีข้อจำกัดในการ Shopping เช่น พิการ หรือเดินทางไม่สะดวก
·        ความทันสมัยของเทคโนโลยีใหม่ ๆ  กระตุ้นให้ลูกค้าวัยรุ่นที่ชอบความทันสมัยและชอบความสะดวกสบายนิยมซื้อ
·        ผู้ที่ไม่มีเวลาในการ Shopping
Present
1.        Cloud Computing
Cloud computing เป็นเทรนด์ใหม่ที่กำลังได้รับความสนใจจากหลายๆ ด้าน ซึ่งก็คือ แนวคิดการใช้งานทางด้านไอทีที่ใช้วิธีดึงพลังและสมรรถนะจากคอมพิวเตอร์หลาย ๆ ตัวจากต่างสถานที่ให้มาทำงานสอดประสานกันเพื่อช่วยขับเคลื่อนการบริการทาง ด้านไอที
ประโยชน์ของ Cloud computing มีอยู่หลายประการ ได้แก่
·        ช่วยให้การนำไอทีไปประยุกต์ใช้ในเชิงธุรกิจทำได้ง่ายและประหยัดขึ้นกว่าใน อดีต โดยองค์กรสามารถใช้บริการทางด้านไอทีได้ โดยไม่จำเป็นต้องลงทุนมากมายกับโครงสร้างพื้นฐานไอทีของตน
·        ผู้ใช้งานก็สามารถเลือกใช้บริการเฉพาะอย่างและเลือกเสียค่าใช้จ่าย ให้ตรงกับความต้องการเฉพาะด้านหรือสอดคล้องกับงบประมาณของตนได้
·        ประโยชน์ในด้านอื่น ๆ อีก  เช่น ช่วยองค์กรประหยัดพลังงาน หรือเพิ่มความอุ่นใจในด้านความปลอดภัยของระบบไอที เป็นต้น

2.        Health Informatics
Health informatics หรือเรียกว่า health care informatics, healthcare informatics, medical informatics, biomedical informatics คือ  การนำข้อมูลที่เกี่ยวกับทางด้านสุขภาพมาผนวกกับเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อนำมาใช้ในการจัดการทรัพยากร, เครื่องใช้ต่างๆ และนำมาพัฒนาปรับปรุงวิธีการได้มา, การเก็บรักษาและการใช้ประโยชน์จากข้อมูลที่เกี่ยวสุขภาพ

การใช้ประโยชน์ของ Health informatics นี้ถูกนำไปใช้งานในหลายด้านไม่ว่าจะเป็น Nursing, Clinical care, Dentistry, Pharmacy, Public health หรือ (Bio)Medical research
ระบบสารสนเทศสุขภาพ (Health Information) หมายถึง สารสนเทศที่เกี่ยวกับสุขภาพอนามัยของประชาชน รวมถึงข้อมูลด้านทรัพยากรสาธารณสุข และกิจกรรมสาธารณสุข โดยสารสนเทศสุขภาพแบ่งออกเป็น 5 ประเภท ได้แก่
1.       ข้อมูลด้านประชากร เศรษฐกิจและสังคม
2.       ข้อมูลด้านสถานสุขภาพ
3.       ข้อมูลด้านทรัพยากรสาธารณสุข
4.       ข้อมูลด้านกิจกรรมสาธารณสุข
5.       ข้อมูลด้านการบริหารจัดการ
    3.  Web 2.0
            Web  2.0 คือ รูปแบบของเว็บไซต์รุ่นที่สอง ที่เน้นการนำเข้าเนื้อหาจากผู้เขียนที่หลากหลาย นำไปแสดงในเว็บไซต์ได้มากมาย เกิดเครือข่ายสังคม ด้วยรูปแบบที่ดูง่าย และน่าตื่นตาตื่นใจ
                Web 2.0 คือ การเปลี่ยนสภาพของเว็บ จากแค่ผลรวมของเว็บไซต์หลายๆ แห่ง มาเป็นโครงสร้างพื้นฐานทางคอมพิวเตอร์ที่ให้บริการซอฟต์แวร์ผ่านเว็บให้กับผู้ใช้. ผู้ที่เห็นด้วยกับแนวคิดนี้คาดว่าบริการต่างๆ บน Web 2.0 จะมาแทนที่ซอฟต์แวร์แบบดั้งเดิมหลายๆ ประเภท
ตัวอย่างเว็บไซต์ยุค Web 2.0 ที่ติดอันดับ 1 ใน 10 ของโลก
·        YouTube
·        MySpace
·        Facebook
·        Wikipedia
By สุทธิดา พวงพิกุล 5202113246

วันพุธที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2553

Week 5 AI 613

Information Technology Economics
1.            Technology and Economic Trends and the Productivity Paradox
Productivity Paradox คือ การที่อัตราการพัฒนาของเทคโนโลยีเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ขณะที่อัตราการพัฒนาของสิ่งอื่นๆ ไม่รวดเร็วเท่า ซึ่งเหตุผลของการที่สิ่งอื่นๆ พัฒนาไม่ทันเทคโนโลยีนั้นมีดังนี้
·        Productivity gain คือ การที่ไม่สามารถเห็นผลที่ชัดเจนของผลิตผลที่เพิ่มขึ้นในช่วงเริ่มแรกที่ใช้
·        การลงทุนใน IT ต้องใช้ต้นทุนที่สูงทำให้อาจเกิดผลขาดทุนมากกว่ากำไร
·        อาจมีปัจจัยอื่นเข้ามามีส่วนเกี่ยวข้อง ส่งผลให้ผลลัพธ์ที่จะได้ไม่เป็นไปตามที่คาดการณ์ไว้

ถึงแม้ Productivity Paradox จะมีข้อเสียจำนวนมาก แต่ทำไมถึงยังมีคนใช้ Productivity Paradox อยู่ ก็เพราะว่า
·        Direct Impact ผลกระทบทางตรง คือ สามารถเพิ่ม productivity แก่องค์กรได้มากขึ้นแค่ไหน
·        Second-Order Impact  คือ ผลกระทบทางอ้อม

2.            Evaluating IT Investments: Needs, Benefits, Issues, and Traditional
องค์กรจำเป็นที่จะต้องเลือกทำโครงการพัฒนา IT บางโครงการที่เหมาะสมแก่องค์กรเท่านั้น โดยเกณฑ์ในการตัดสินใจ มีดังนี้
·        พิจารณาปัจจัยพื้นฐานและหาเครื่องมือในการวิเคราะห์ที่เหมาะสม
·        ค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติม โดยใช้เกณฑ์ที่เป็น Objective
·        ตั้งสมมติฐานเกี่ยวกับต้นทุน และผลประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
·        ระบุเครื่องมือที่ใช้ในการคำนวณ รวมไปถึงการวิเคราะห์ความเสี่ยง
·        ระบุให้ได้ว่าการลงทุนในครั้งนี้สร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันของบริษัทได้อย่างไร
·        เปรียบเทียบ Cost และ Benefit คือ ไม่ประเมินต้นทุนต่ำเกินไป และไม่ประเมินผลประโยชน์ให้สูงเกินไป

ความยากในการประเมินคัดเลือกโครงการ
·        ระบุเกณฑ์ มาตรวัด ไม่ถูกต้องเหมาะสม
·        Time Lag คือ ต้องใช้ระยะเวลาจึงจะสามารถเห็นผล
·        ยากที่จะระบุผลประโยชน์จากโครงการ IT ดังกล่าว

Cost-Benefit Analysis
·        Cost
o   Development Cost
o   Setup Cost
o   Operational Cost
·        Benefit
o   Direct Benefit
o   Assessable Indirect Benefits
o   Intangible Benefits

Cost-Benefit Evaluation Techniques
·        Net Profit
·        Payback Period
·        Return on Investment (ROI)
·        Net Present Value (NPV)
·        Interest Rate of Return (IRR)

3.       Advanced Methods for Justifying IT Investment and Using IT Metrics
นอกจากวิธีที่ได้กล่าวไปในข้างต้นแล้วยังมีอีกหลายวิธีที่สามารถนำมาใช้ในการประเมินเพื่อตัดสินใจเลือกลงทุนได้ ซึ่งได้แก่
·        Total cost of ownership (TCO)
·        Benchmarks
·        Balance scorecard  คือ ประเมิน 4 มุมมอง ซึ่งได้แก่ customer, financial, internal business processes และ learning and growth

By สุทธิดา พวงพิกุล 5202113246