วันอังคารที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2553

Week 7 : M-Commerce


M-Commerce
M-commerce คือ การซื้อขาย สินค้าและบริการ ผ่านอุปกรณ์สื่อสาร เช่น โทรศัพท์มือถือ หรือ PDAs

Value added attributes that drive development of M-commerce
  • Ubiquity
  •  Convenience
  •  Instant Connectivity
  •  Personalization
  •  Localization of products & services
Drivers of mobile computing & M-commerce
  • Widespread availability of mobile devices
  •  No need for a pc
  • Handset culture
  • Declining prices, increased functionalities
  • Improvement of bandwidth เช่น 3G 3.5G
  • Centrino chip
  • Availability of Internet access in automobile
  • Networks 3G 4G และการพัฒนา Wi-Fi มากขึ้น
  • The service economy
  • Vendor’s push
  • The mobile workforce
Mobile Computing Infrastructure
  • WAP (Wireless Application Protocol)
  •  Markup languages: WML, XHTML
  •  Mobile development: .NET compact, Java ME, Python
  •   Mobile Emulators 
  • Microbrowsers: Android, Safari, IE mobile, Firefox mobile
  •        HTML5
· 
M-Commerce Business Models 
  • Usage fee model
  •  Shopping Business Models
  •  Marketing business Models
  •  Improved Efficiency Models
  • Advertising Business Models
  • Revenue-Sharing Business Models

Mobile Enterprise Applications
  • Supporting salespeople during customer visits
  • Supporting field employees during repair
  • Supporting traveling of employees
  • Supporting employees working within the organization
  • Supporting employees driving trucks

Technical and other limitations of mobile computing
  • Insufficient bandwidth
  • Security standards
  • Power Consumption
  • Transmission Interferences
  • GPS Accuracy
  • Potential Health Hazards
  • Human Interface with Device
  • Small Screens
  • Reduced memory
  • Limited Bandwidth
  • Restricted input capabilities
  • Cost – it’s readily available; why pay for it?
  • Trust
************
Present 

1.       1.   Mobile robot
หุ่นยนต์ หรือ โรบอต (robot) คือ เครื่องจักรกลชนิดหนึ่ง มีลักษณะโครงสร้างและรูปร่างแตกต่างกัน หุ่นยนต์ในแต่ละประเภทจะมีหน้าที่การทำงานในด้านต่าง ๆ ตามการควบคุมโดยตรงของมนุษย์
ประเภทของหุ่นยนต์
1.       การแบ่งประเภทตามการเคลื่อนที่ได้
·        หุ่นยนต์ที่ติดตั้งอยู่กับที่ ไม่สามารถเคลื่อนที่ได้ (fixed robot)

·        หุ่นยนต์ที่สามารถเคลื่อนไหวและเคลื่อนที่ได้ (Mobile robot)

2.       การแบ่งประเภทตามลักษณะรูปร่างภายนอก
·        หุ่นยนต์ฮิวแมนนอยด์ (Humanoid Robot) เป็นลักษณหุ่นยนต์ที่เหมือนกับมนุษย์
·        แอนดรอยด์ (Android)
·        จีนอยด์ (Gynoid) เป็นการเรียกหุ่นยนต์คล้ายมนุษย์เพศหญิง
·        แอ็คทรอยด์ (Actriod) เป็นหุ่นยนต์ที่เลียนแบบพฤติกรรมมนุษย์ เช่น กระพริบตา หายใจ เริ่มพัฒนาโดย มหาวิทยาลัยโอซาก้าและบริษัทโคโคโระ
·        ไซบอร์ก (Cyborg) เป็นหุ่นยนต์ที่เชื่อมต่อกับสิ่งมีชีวิต หรือ ครื่งคนครึ่งหุ่น เริ่มปรากฏครั้งแรกในเรื่องแต่งปี 1960
·        นาโนโรบอท (Nanorobot) เป็นหุ่นยนต์ขนาดเล็กมาก ขนาดประมาณ 0.5-3 ไมครอน

ประโยชน์และความสามารถของหุ่นยนต์

·        ความสามารถในด้านการแพทย์

·        ความสามารถในงานวิจัย

·        ความสามารถในงานอุตสาหกรรม

·        ความสามารถในด้านความมั่นคง 

·        ความสามารถในด้านบันเทิง


 2. โลกเสมือนจริง (Virtual World)
โลกเสมือน (Virtual World) คือ การจำลองสภาพแวดล้อม ที่สามารถตอบสนองต่อการใช้งานของผู้ใช้หลายคน พร้อมๆ กัน ผ่านเครือข่ายออนไลน์ นั่นหมายความว่า โลกเสมือนจะต้องรองรับ การใช้งานของผู้ใช้ได้ตลอดเวลา (24 ชั่วโมงต่อวัน)
นอกจากรูปแบบของโลกเสมือนแล้ว  ยังมีรูปแบบอื่นๆ ที่คล้ายคลึงกันกับโลกเสมือน  ได้แก่
·        เครือข่ายสังคมออนไลน์ (Social Networking Website)
·        ร้านค้าเสมือนจริง (Virtual Shopping)
·        การท่องเที่ยวเสมือนจริง (Virtual Tour)
3.  E-book reader
E-Book Reader หรือ E-Reader คือ อุปกรณ์ที่ใช้อ่านหนังสืออิเลคทรอนิคส์หรือ E-Book ที่ถูกออกแบบมาให้ใช้งานง่าย สะดวกในการพกพา และสามารถอ่านได้ทุกที่ แทนที่หนังสือกระดาษที่มีอยู่ในปัจจุบัน โดยมีการปรับปรุงหรือเปลี่ยนแปลงข้อมูลจากหนังสือต่างๆ ให้อยู่รูปของตัวอักษร ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง ลักษณะที่ตอบโต้กันได้ (Interactive) และ การเชื่อมโยงแบบไฮเปอร์เท็กซ์ สามารถทำบุ๊คมาร์กและหมายเหตุประกอบตามที่ผู้ใช้ต้องการได้ โดยอาศัยพื้นฐานของหนังสือเล่มเป็นหลัก โครงสร้าง E-Book Reader จะประกอบด้วยหน้าปกหน้า-หลัง สารบัญ เนื้อหาภายในเล่ม และดัชนี แต่ E-Book จะ แตกต่างจากหนังสือเล่มในการพลิกหน้า โดยที่ไม่ได้มีการพลิกหน้าจริง แต่เป็นไปในลักษณะของการซ้อนทับกัน และยังสามารถกระโดดข้ามไปยังหน้าที่ผู้อ่านต้องการได้อีกด้วย

By สุทธิดา พวงพิกุล 5202113246

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น